BLOG myAccount Cloud

BLOG myAccount Cloud

1647 รายการ
ต้นทุนผันแปร (Variable Cost) คือต้นทุนที่เพิ่มขึ้นตามจำนวนการผลิต เช่น วัตถุดิบ ค่าแรงรายชั่วโมง ตัวอย่างที่ 1 บริษัทวรุณ จำกัด ผลิตเครื่องเล่นเสตอริโอ ภายใต้ยี่ห้อ V-sound บริษัทซื้อชิ้นส่วนต่าง ๆ จากผู้ผลิตรายย่อย (Supplier) ภายนอก ราคาชิ้นละ 10 บาท ดังนั้น ยิ่งต้องการจำนวนมาก ๆ ก็จะทำให้ต้นทุน ในการซื้อเพิ่มขึ้น ถือเป็นต้นทุนผันแปร โดยที่ ต้นทุนต่อหน่วยจะคงที่ คือ 10 บาท/หน่วย แต่ต้นทุนรวมจะเพิ่มขึ้นตามจำนวนหน่วยผลิต
31938 ผู้เข้าชม
การบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต 1. เป็นวิธีการรวบรวมและสะสมต้นทุนการผลิตของกิจการที่มีการผลิตต่อเนื่องกันไป มักใช้ในกิจการที่ผลิตสินค้าจำนวนมาก 2. การคำนวณต้นทุนต่อหน่วยของสินค้าในงวดบัญชี จะใช้วิธีการถัวเฉลี่ยความสำเร็จของงานให้อยู่ในรูปของหน่วยเทียบสำเร็จรูป (Equivalent Units) เสียก่อน เนื่องจากลักษณะของการผลิตมีความต่อเนื่องกันไปตลอด 3. มีการจัดทำรายงานต้นทุนการผลิต แยกตามแผนกผลิต (โดยปกตินิยมรวบรวมต้นทุนตามงวดเวลา 1 เดือน)
44043 ผู้เข้าชม
บัญชีการเงิน และบัญชีเพื่อการจัดการ (Financial Accouting and Management Accounting) จากจำนวนผู้ใช้งานสารสนเทศทางการบัญชีจำนวนมาก สามารถที่จะแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ ผู้ใช้ที่เป็นบุคคลภายใน และผู้ใช้ที่เป็นบุคคลภายนอก โดยจะจัดแบ่งกาบัญชีออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่การบัญชีการเงิน และการบัญชีเพื่อการจัดการ บัญชีการเงิน (Financial Accounting) เป็นบัญชีที่มีการจัดเตรียมข้อมูลสารสนเทศให้แก่ผู้บริหาร และบุคคลภายนอกองค์กร เช่น นักลงทุน ผู้ถือหุ้น เจ้าหนี้ หน่วยงานรัฐบาล เช่น กรมสรรพากร กรมทะเบียนธุรกิจและการค้า ซึ่งบัญชีการเงินนี้จะต้องปฎิบัติตามมาตรฐานการบัญชีและหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ต้องมีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ
2704 ผู้เข้าชม
makro กับ micro การบัญชีแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ makro กับ micro Mackro แบ่งเป็น 5 ระบบบัญชี 1.ระบบบัญชีรายได้ประชาชาติ จะต้องคิดหา GDP รายได้ประชาติต่อหัว จะพูดถึงภาวะเศรษฐกิจของประเทศ 2.ระบบปัจจัยการผลิตและผลผลิต Input กับ Output เป็นระบบบัญชีหมุนเวียนภาวะเศรษฐกิจในแต่ละ sector ซึ่งประเทศไทยเราทำประมาณ 180 sector มันจะบอกว่าถ้าอุตสาหกรรม sector ที่ 1 ผลิตข้าว เปลี่ยน 1 % sector ที่ 180 ผลิตรถยนต์จะเปลี่ยนกี่เปอร์เซ็นต์ มองเห็นความสัมพันธ์ระหว่าง sector 3.ระบบเงินหมุนเวียนภายในประเทศ โดยจะบอกว่าในแต่ละ sector มีเงินหมุนเวียนอยู่เท่าไหร่ 4.ระบบบัญชีเงินดุลสะพัดแห่งชาติ พูดถึงตัวเงินเหมือนกันแต่แทนที่จะหมุนเวียนในประเทศกลับไปหมุนเวียนกับต่างประเทศ บัญชีดุลสะพัดประกอบไปด้วย ดุลการค้า และดุลบริการ
2276 ผู้เข้าชม
การวิจัยกับการการวิเคราะห์งบการเงิน การที่เราเห็นการเปลี่ยนแปลงในอดีต ทำให้สามารถพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้ ทฤษฎีทางการบัญชีแบ่งเป็น 3 ยุค 1. Classical approach งานวิจัยตั้งแต่ช่วงต้น ๆ จนถึงปี 1960s ( 1960-1969) Mid กลางปีคือ 1965 พยามพัฒนาหาว่างบการเงินหรือการบัญชีควรจะแสดงข้อมูลอย่างไรจึงจะเหมาะสม 2. Market – based accounting research - มีการหา empirical Test มากขึ้น (การทดสอบเชิงประจักษ์จากข้อมูล) จะมุ่งเน้นไปที่ปฏิกิริยาทางการตลาดที่มีต่อข้อมูลทางการบัญชีที่รายงานออกไป - จะศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกำไรทางการบัญชีกับผลตอบแทนของตลาด( Market Return)ซึ่งอยู่ในบทบาทของข้อมูลทางการบัญชี
3763 ผู้เข้าชม
สำหรับคนที่ไม่คุ้นเคยกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้บ้านเราอาจจะงงกับคำย่อต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น MLR หรือ MRR (ซึ่งจริงๆ ก็ไม่ใช่เรื่องแปลกเพราะในต่างประเทศก็มีคำย่อหลากหลายประมาณนี้เหมือนกัน เช่น LIBOR หรือ SIBOR) วันนี้ CheckRaka.com จะพามาดูกันค่ะว่า แต่ละ Rate คืออะไร เป็นอย่างไร
4679 ผู้เข้าชม
ปัจจัยที่ช่วยอำนวยความสะดวก ทำให้การดำเนินชีวิตของผู้คนในสังคมมีความสมบูรณ์พร้อม ก็คือ “เงิน” เพราะตามความหมายทางเศรษฐศาสตร์ เงินหมายถึง สิ่งที่สังคมยอมรับสำหรับใช้เป็นสื่อกลางในแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ ใช้ในการชำระหนี้หรืออื่นๆตามต้องการ และมีมูลค่าค่อนข้างคงที่
79442 ผู้เข้าชม
“ภาษี” คือเงินที่รัฐบาลเรียกเก็บจากบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล เพื่อนำรายได้ส่วนนี้ไปเป็นค่าใช้จ่ายในการพัฒนาประเทศ การเสียภาษีจึงเป็นหน้าที่ของประชาชนที่ต้องพึงปฏิบัติในฐานะพลเมืองของประเทศ
34236 ผู้เข้าชม
ต้นทุนของสินทรัพย์ประกอบด้วย 1. ราคาซื้อ(ตามใบ Invoices) 2. ภาษีขาย(Sale TAX) 3. ค่าขนย้ายกับค่าประกัน 4. ค่าติดตั้ง ประเด็นโต้แย้งของหลักการในการรับรู้ต้นทุนของสิทรัพย์ระยะยาว 1. ต้นทุนบางอย่างที่เกิดจากการได้มาซึ่งสินทรัพย์นั้นควรนำมารวมเป็นต้นทุนของสินทรัพย์ด้วยหรือไม่ เช่น ต้นทุนดอกเบี้ยของงานระหว่างก่อสร้าง 2. ค่าใช้จ่าย R&Dและต้นทุนในการพัฒนา Software ควรนำมาCapเป็นสินทรัพย์หรือไม่ 3. ควรใช้วิธการบัญชีเกี่ยวกับการกำหนดมูลค่าของต้นทุนของการได้มาซึ่งน้ำมันและแก๊สเป็นสินทัพนย์อย่างไร
3871 ผู้เข้าชม
สำหรับอัตราดอกเบี้ยของสถาบันการเงินต่างๆ แบ่งออกเป็นหลายประเภท นอกจากนั้น แบงก์ชาติก็ไม่ได้มีการบังคับใช้อัตราดอกเบี้ยตามประเภทที่ได้กำหนดไว้เท่านั้น แต่อาจมีอัตราดอกเบี้ยอื่นๆ ตามที่สถาบันการเงินแต่ละแห่งกำหนดขึ้น โดยอัตราดอกเบี้ยเหล่านั้นต้องมีการประกาศไว้อย่างชัดเจนที่สำนักงานใหญ่และสาขาของแต่ละธนาคาร และเมื่อกล่าวถึงอัตราดอกเบี้ยหรือมีการขอสินเชื่อจากสถาบันการเงิน เรามักจะได้ยินคำว่า MRR บ่อยที่สุด
3521 ผู้เข้าชม
302541 ผู้เข้าชม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์